buddhist-theology / 44 /440028.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
44,0028,001,นั้นให้ เพราะความโลภนั้นครอบงำไม่ได้. พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า
44,0028,002,<B>โย หิ</B> ดังนี้เป็นต้น เพื่อแสดงคำทั้งสองนั้น คือ <B>น ทาโส น สหาโย</B>
44,0028,003,โดยนัยอันคล้อยตาม และโดยนัยอันตรงกันข้าม. ทายกชื่อว่าเป็นทาส
44,0028,004,(แห่งทาน) ให้ เพราะเป็นผู้เข้าไปใกล้ต่อความเป็นทาสแห่งตัณหา.
44,0028,005,ทายกชื่อว่า เป็นสหายแห่งทานให้ เพราะสละความเป็นของไม่เป็นที่รัก
44,0028,006,แห่งไทยธรรมนั้น. ทายกชื่อว่า เป็นนายให้ เพราะเปลื้องตนจากความ
44,0028,007,เป็นทาสแห่งตัณหาในไทยธรรมนั้นครอบงำเป็นไป. อีกอย่างหนึ่ง
44,0028,008,บุคคลใดชื่อว่าเป็นทายก เพราะให้เป็นปกติ ผู้นั้น โดยประเภทแห่ง
44,0028,009,ความเป็นไปในทาน มีประการเป็น ๓ คือ ทาสแห่งทาน สหายแห่งทาน
44,0028,010,นายแห่งทาน เพื่อจะแสดงจำแนกความที่ทายกมีประการเป็น ๓ นั้น
44,0028,011,พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า <B>'โย หิ'</B> เป็นต้น. ข้าวและน้ำ
44,0028,012,"เป็นต้น ชื่อว่าทาน เพราะอรรถว่าเป็นของควรให้, บรรดาทายกทั้ง"
44,0028,013,๓ จำพวกนั้น บุคคลชื่อว่าเป็นดุจทาส เพราะเป็นไปในอำนาจวัตถุที่ตน
44,0028,014,"บริโภคเอง เหตุที่ตนถูกตัณหาครอบงำ, ชื่อว่าเป็นดุจทาส เพราะเป็น"
44,0028,015,ไปในอำนาจ แห่งวัตถุที่ตนไม่ให้แก่ชนเหล่าอื่น. แม้เช่นนั้น พระ
44,0028,016,อรรถกถาจารย์ กล่าวคำว่า <B>'ทานสงฺขาตสฺส เทยฺยธมฺมสฺส ทาโส
44,0028,017,หุตฺวา'</B> นี้ ก็ด้วยความที่ข้าวและน้ำเสมอกัน. ทายกชื่อว่าเป็นสหายให้
44,0028,018,เพราะตั้งของที่ตนพึงบริโภค และขอที่พึงให้แก่ชนอื่นไว้โดยเสมอ ๆ
44,0028,019,กัน. ทายกชื่อว่าเป็นนายให้ เพราะไม่เป็นไปในอำนาจแห่งไทยธรรม
44,0028,020,เอง. [แต่] ทำไทยธรรมนั้นให้เป็นไปในอำนาจของตน. อีกนัยหนึ่ง
44,0028,021,ผู้ใดบริโภคของประณีตด้วยตน ให้ของเลวแก่ผู้อื่น ผู้นั้นชื่อว่าทาสแห่ง