|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
44,0026,001,<B>ทำถ้อยคำของพระสุคต ผู้อันตัณหาไม่อาศัยแล้ว
|
|
44,0026,002,"ผู้คงที่ ย่อมยินดี.""</B> "
|
|
44,0026,003,สีหสูตร ในสุมนวรรคที่ ๔ จบ.
|
|
44,0026,004,[๒๔] ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถา<SUP>๑</SUP>อัฏฐกนิบาต อังคุตตรนิกายว่า
|
|
44,0026,005,'คำว่า <B>'สีโห เสนาปติ'</B> ได้แก่พระราชกุมารมีพระนามอย่างนั้น
|
|
44,0026,006,ผู้เป็นนายทัพ. แท้จริง ในกรุงเวสาลี มีเจ้า ๗๗๐๗ (เจ็ดพันเจ็ดร้อย
|
|
44,0026,007,เจ็ด) พระองค์ เจ้าเหล่านั้นทั้งหมด ประชุมกันปรึกษาว่า 'ท่าน
|
|
44,0026,008,ทั้งหลายจงเลือกบุคคลผู้หนึ่ง ที่สามารถจะยึดเหนี่ยวใจของปวงชน
|
|
44,0026,009,แล้วจัดการแว่นแคว้นได้' เลือกกันอยู่ เห็นสีหราชกุมาร ทำความ
|
|
44,0026,010,ตกลงกันว่า 'ผู้นี้จักสามารถ' ได้ให้ฉัตรแห่ง (ตำแหน่ง) เสนาบดี
|
|
44,0026,011,"มีสีดังมณีแดง อันบุด้วยผ้ากัมพลแก่เธอ."""
|
|
44,0026,012,"[๒๕] อรรถกถา<SUP>๒</SUP>สีหสูตรนั้นว่า ""บทว่า <B>สนฺทิฏฺิกํ</B> ได้แก่"
|
|
44,0026,013,อันบุคคลพึงเห็นเอง. บทว่า <B>ทายโถ</B> ได้แก่ ผู้กล้าในการให้. อธิบาย
|
|
44,0026,014,ว่า ผู้ไม่หยุดอยู่ด้วยเพียงความเชื่อว่า 'ทานยังประโยชน์ให้สำเร็จ'
|
|
44,0026,015,เท่านั้น อาจแม้เพื่อสละด้วย. บทว่า <B>ทานปติ</B> ความว่า บุคคล
|
|
44,0026,016,ให้ทานใด เป็นนายแห่งทานนั้นให้ มิใช่เป็นทาส (แห่งทาน) มิใช่
|
|
44,0026,017,เป็นสหาย (แห่งทาน). จริงอยู่ ผู้ใดบริโภคของอร่อยด้วยตน ให้
|
|
44,0026,018,ของไม่อร่อยแก่ชนเหล่าอื่น ผู้นั้นชื่อว่าเป็นทาสแห่งไทยธรรม กล่าว
|
|
44,0026,019,คือทานให้. ผู้ใดบริโภคสิ่งใดด้วยตนเอง ให้สิ่งนั้นแหละ ผู้นั้นชื่อว่า
|
|
44,0026,020,เป็นสหาย (แห่งทาน) ให้. ส่วนผู้ใดตนเองยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยสิ่ง
|
|
44,0026,021,
|
|
44,0026,022,๑. มโน. ป. ๓/๒๖. ๒. มโน. ป. ๓/๒๖.
|
|
|