buddhist-theology / 32 /320047.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
32,0047,001,สาวกทั้งหลายของเราให้เป็นผู้มีศีรษะขาด ด้วยเหตุสักว่ามีผมอันตัด
32,0047,002,"แล้วเป็นต้นนั้นแล ควรหรือ ? "" ภิกษุหนุ่ม ลุกขึ้นประคองอัญชลี"
32,0047,003,"ในทันใดนั่นแล กราบทูลว่า "" พระเจ้าข้า พระองค์ย่อมทรงทราบ"
32,0047,004,"ปัญหานั่นด้วยดี, อุปัชฌาย์ของข้าพระองค์และมหาอุบาสิกา ย่อม"
32,0047,005,"ไม่ทราบด้วยดี. "" พระศาสดา ทรงทราบความที่พระองค์เป็นผู้อนุกูล "
32,0047,006,"แก่ภิกษุหนุ่มแล้ว ตรัสว่า "" ชื่อว่าความเป็นคือหัวเราะปรารภกาม-"
32,0047,007,"คุณเป็นธรรมอันเลว, อนึ่งการเสพธรรมที่ชื่อว่าเลว และการอยู่ร่วม"
32,0047,008,"กับความประมาทย่อมไม่ควร "" จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :-"
32,0047,009,"<B>"" บุคคลไม่พึงเสพธรรมอันเลว, ไม่พึงอยู่ร่วม"
32,0047,010,"ด้วยความประมาท, ไม่พึงเสพความเห็นผิด,"
32,0047,011,"ไม่พึงเป็นคนรกโลก. ""</B>"
32,0047,012,[ แก้อรรถ ]
32,0047,013,บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า <B>หีนํ ธมฺมํ </B> ได้แก่ธรรมคือ
32,0047,014,เบญจกามคุณ. แท้จริง ธรรมคือเบญจกามคุณนั้น อันชนเลว โดย
32,0047,015,"ที่สุดแม้อูฐและโคเป็นต้นพึงเสพ, ธรรมคือเบญจกามคุณ ย่อม"
32,0047,016,ให้สัตว์ผู้เสพบังเกิดในฐานทั้งหลายมีนรกเป็นต้นอันเลว เพราะเหตุ
32,0047,017,นั้น ธรรมคือเบญจกามคุณนั้น จึงชื่อว่าเป็นธรรมเลว; บุคคลไม่
32,0047,018,พึงเสพธรรมอันเลวนั้น. บทว่า <B>ปมาเทน</B> ความว่า ไม่พึง
32,0047,019,อยู่ร่วมแม้ด้วยความประมาท มีอันปล่อยสติเป็นลักษณะ. บทว่า
32,0047,020,<B>น เสเวยฺย</B> ได้แก่ ไม่พึงถือความเห็นผิด. บทว่า <B>โลกาวฑฺฒโน</B>