|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
14,0027,001,"ภควา เป็นพระนามของพระบรมศาสดา เป็นนามนาม, ปุริสทมฺม-"
|
|
14,0027,002,"สารถิ แสดงลักษณะสามัญแห่งพระองค์ เป็นปกติคุณนาม, อนุตฺตโร"
|
|
14,0027,003,"แสดงลักษณะวิเศษแห่งพระองค์ เป็นวิเสสคุณนาม, โส ใช้แทน"
|
|
14,0027,004,พระบรมศาสดา เป็นสัพพนาม. [ ๒๔๗๓ ].
|
|
14,0027,005,[ ลิงค์ ]
|
|
14,0027,006,ถ. ลิงค์แปลว่าอะไร ? จัดเป็นเท่าไร ? อะไรบ้าง ? และจัด
|
|
14,0027,007,อย่างไร ?
|
|
14,0027,008,ต. แปลว่าเพศ. จัดเป็น ๓ ปุํลิงฺคฺ เพศชาย ๑ อิตฺถีลิงฺคํ
|
|
14,0027,009,เพศหญิง ๑ นปุํสกลิงฺค์ มิใช่เพศชายมิใช่เพศหญิง ๑. จัดตาม
|
|
14,0027,010,สมมติของภาษาบ้าง ตามกำเนิดบ้าง . [ อ. น. ]
|
|
14,0027,011,ถ. ลิงค์นั้นจัดตามกำเนิดอย่างเดียวไม่พอหรือ ? เหตุไฉน จึง
|
|
14,0027,012,ต้องจัดตามสมมติด้วย ซึ่งที่ให้ผู้ศึกษาจำลิงค์ได้ยาก ?
|
|
14,0027,013,ต. จริงอยู่ การจัดลิงค์ตามสมมตินั้นทำให้ผู้ศึกษาจำลิงค์ได้
|
|
14,0027,014,ยาก เพราะสับสนเพศกัน เช่น ทาโร เมีย ตามธรรมดาต้องเป็น
|
|
14,0027,015,อิตถีลิงค์ เพศหญิง แต่สมมติให้เป็นปุงลิงค์เพศชาย ภูมิ แผ่นดิน
|
|
14,0027,016,ตามธรรมดาต้องเป็นนปุงสกลิงค์ มิใช่เพศชายมิใช่เพศหญิง แต่สมมติ
|
|
14,0027,017,ให้เป็นอิตถีลิงค์เป็นต้น. จะจัดตามกำเนิดอย่างเดียวไม่พอ เพราะ
|
|
14,0027,018,คำพูดผิดลิงค์เช่นนั้น เขานิยมพูกันมาก่อนตำราไวยากรณ์เกิดขึ้น
|
|
14,0027,019,ตำราไวยากรณ์เกิดทีหลัง ตามหลักการแต่ตำราไวยากรณ์จะต้อง
|
|
14,0027,020,รวบรวมเอาคำพูดทั้งสิ้นให้อยู่ในกรอบและอนุวัตรตามภาษานิยม ถ้า
|
|
14,0027,021,ไม่มีการจัดลิงค์ตามสมมติแล้ว คำพูดเหล่านั้นก็จะอยู่นอกกฏเกณฑ์
|
|
|