|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
14,0017,001,ทสฺสนํ เป็นต้น สาหุทสฺสนํ แปลง ท เป็น ต อุทาหรณ์ สุคโท เป็น
|
|
14,0017,002,สุคโต เป็นต้น เรียกว่า ไม่นิยมเลย [ คือไม่นิยมสระหรือพยัญชนะ
|
|
14,0017,003,เบื้องปลาย ] [ ๒๔๖๒ ].
|
|
14,0017,004,ถ. ขอข้อบังคับและตัวอย่างพยัญชนะอาคม ๘ ตัว ?
|
|
14,0017,005,ต. พยัญชนะอาคม ๘ ตัว ย ว ม ท น ต ร ฬ นี้ ถ้าสระอยู่
|
|
14,0017,006,"เบื้องหลัง ลงได้บ้างดังนี้ ย อาคม ยถา=อิทํ ยถายิทํ, ว อาคม"
|
|
14,0017,007,"อุ = ทิกฺขติ เป็น วุทิกฺขติ, ม อาคม ครุ=เอสฺสติ เป็น ครุเมสฺสติ,"
|
|
14,0017,008,"ท อาคม อตฺต = อตฺโถ เป็น อตฺตทตฺโถ, น อาคม อิโต=อายติ"
|
|
14,0017,009,"เป็น อิโตนายติ, ต อาคม ตสฺมา= อิห เป็น ตสฺมาติห, ร อาคม"
|
|
14,0017,010,"สพฺภิ=เอว เป็น สพฺภิเรว, ฬ อาคม = อายตนํ เป็น ฉฬายตนํ,"
|
|
14,0017,011,"ใน สัททนีติ ว่า ลง ห อาคมก็ได้ อุทาหรณ์ว่าสุ = อุชุ เป็น สุหุชุ,"
|
|
14,0017,012,สุ = อุฏฺิตํ เป็นสุหุฏฺิตํ. [ ๒๔๖๕ ].
|
|
14,0017,013,ถ. อาคโม และ สญฺโโค ในพยัญชนะสนธิ ๘ ตัว ย ว ม
|
|
14,0017,014,"ท น ต ร ฬ ถ้าสระอยู่หลัง ลงได้บ้าง, ในสัททนีติว่า ลง ห อาคม"
|
|
14,0017,015,ก็ได้. ส่วน สญฺโโค แบ่งเป็น ๒ คือ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเหมือน
|
|
14,0017,016,กันอย่าง ๑ ที่ไม่เหมือนกันอย่าง ๑ อุทาหรณ์ที่ต้น อิธ= ปโมทติ
|
|
14,0017,017,"เป็น อิธปฺปโมทติ, จาตุ =ทสี เป็นจาตุทฺทสี, อุทาหรณ์ที่ ๒ เอา"
|
|
14,0017,018,อักขระที่ ๑ ซ้อนหน้าอักขระที่ ๒ อักขระที่ ๓ ซ้อนหน้าอักขระที่ ๔
|
|
14,0017,019,"ดังอุทาหรณ์ว่า จตฺตาริ = านานิ เป็น จตฺตาริฏฺานานิ, เอโสว"
|
|
|