|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
08,0013,001,วิภัตติ ส่วนวจนะในอาขยาตย่อมเป็นเครื่องหมายบุรุษ อนึ่ง วจนะนั้น
|
|
08,0013,002,ใช้เป็นเครื่องหมายความเคารพ เช่นผู้น้อยจะพูดกับผู้ใหญ่แม้คนเดียว
|
|
08,0013,003,โดยความเคารพ ท่านนิยมให้ใช้พหุวจนะ มีแต่ลิงค์กับวจนะเท่านั้น
|
|
08,0013,004,ยังไม่พอ ต้องมีวิภุตติเข้าประกอบ วิภัตตินั้นเป็นเครื่องหมายให้รู้
|
|
08,0013,005,วจนะได้ประการ ๑ นามศัพท์จึงจะใช้ให้สำเร็จประโยชน์ได้ดี.
|
|
08,0013,006,วิภัตติ
|
|
08,0013,007,ศัพท์นี้ แปลว่า แจกหรือจำแนกศัพท์ให้มีเนื้อความเนื่องถึงกัน
|
|
08,0013,008,ตามภาษาที่มีทั่วไป ในประเภทศัพท์ที่ไม่ใช่พวกอัพยยศัพท์ ลิงค์ก็ดี
|
|
08,0013,009,วจนะก็ดี ต้องอาศัยวิภัตติช่วยอุปภัมภ์สำหรับกำหนด เพราะในปุํลิงคฺ
|
|
08,0013,010,อิตถีลิงค์ และนปุํสกลิงค์ ต่างก็มีวิธีแจกไม่เหมือนกัน อนึ่ง วิภัตติกับ
|
|
08,0013,011,อายตนิบาตคือคำต่อก็หาเหมือนกันไม่<B> สิ. อํ. โย.</B> เป็นต้น เรียกวิภัตติ.
|
|
08,0013,012,"ซึ่ง, ด้วย,แต่, จาก, ของ, เพื่อ, เป็นต้น เรียกอายตนิบาต บรรดา"
|
|
08,0013,013,ศัพท์ประกอบด้วยวิภัตติทุกเหล่า จะมีอายตนิบาตทุกศัพท์ก็หาไม่ ตาม
|
|
08,0013,014,ธรรมดาอายตนิบาตเนื่องจากวิภัตติแห่งนามนามและปุริสสัพพนาม อัน
|
|
08,0013,015,"ได้แก่ <B>ต, ตุมฺห, อมฺห. </B> ศัพท์ โดยตรง หรือ <B>กึ</B> ศัพท์บางคำเท่านั้น"
|
|
08,0013,016,นอกจากนี้หามิไม่ เช่นศัพท์ที่เป็นปฐมาวิภัตติไม่เนื่องด้วยอายตนิบาต
|
|
08,0013,017,เพราะเป็นประธาน ที่เนื่องนั้นตั้งแต่ทุติยาวิภัตติเป็นต้นไป และที่ต้อง
|
|
08,0013,018,แปลอายตนิบาตในทุติยาวิภัตติเป็นต้นก็เฉพาะตัวนามนามและสัพพนาม
|
|
08,0013,019,ส่วนคุณนามไม่ต้องแปลออกชื่ออายตนิบาต แต่ถ้าคุณยามใช้เพิ่มนามก็
|
|
08,0013,020,ต้องแปลด้วย ส่วนปฐมาวิภัตติที่นิยมแปลว่า อันว่า เป็นเพียงสำนวนใน
|
|
08,0013,021,ภาษาไทยเหน็บเข้ามาเพื่อมิให้เคอะเขินเท่านั้น หากจะไม่มีก็ไม่เป็นการ
|
|
|