|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
34,0049,001,บทว่า <B>สมุสฺสโย</B> คือ ร่ายกาย<SUP>๑</SUP>นี้ ของผู้นั้น มีในที่สุด.
|
|
34,0049,002,บทว่า <B>อนาทาโน</B> คือ ผู้ไม่มีการยึดถือในขันธ์เป็นต้น.
|
|
34,0049,003,บาทพระคาถาว่า <B>นิรุตฺติปทโกวิโท</B> ความว่า ผู้ฉลาดในปฏิสัมภิทา
|
|
34,0049,004,แม้ทั้ง ๔ คือ ในนิรุตติ และบทที่เหลือ.
|
|
34,0049,005,สองบาทพระคาถาว่า <B>อกฺขรานํ สนฺนิปาตํ ชญฺา ปุพฺพา-
|
|
34,0049,006,ปรานิ จ</B> ความว่า ย่อมรู้หมวดหมู่แห่งอักษร กล่าวคือที่ประชุม
|
|
34,0049,007,แห่งอักษรทั้งหลาย และรู้อักษรเบื้องปลายด้วยอักษรเบื้องต้น และ
|
|
34,0049,008,อักษรเบื้องต้นด้วยอักษรเบื้องปลาย. ชื่อว่า รู้จักอักษรเบื้องปลาย
|
|
34,0049,009,ด้วยอักษรเบื้องต้น คือ เมื่อเบื้องต้นปรากฏอยู่ ในท่ามกลางและ
|
|
34,0049,010,"ที่สุด แม้ไม่ปรากฏ, ก็ย่อมรู้ได้ว่า ""นี้เป็นท่ามกลางแห่งอักษร"
|
|
34,0049,011,"เหล่านี้, นี้เป็นที่สุด,"" ชื่อว่า ย่อมรู้จักอักษรเบื้องต้นด้วยอักษรเบื้อง"
|
|
34,0049,012,ปลาย คือเมื่อที่สุดปรากฏอยู่ เมื่อเบื้องต้นและท่ามกลางแม้ไม่
|
|
34,0049,013,"ปรากฏ, ก็ย่อมรู้ได้ว่า ""นี้เป็นท่ามกลางแห่งอักษรเหล่านี้, นี้เป็น"
|
|
34,0049,014,"เบื้องต้น"" เมื่อท่ามกลางปรากฏอยู่ เมื่อเบื้องต้นและที่สุดแม้ไม่"
|
|
34,0049,015,"ปรากฏ, ย่อมทราบได้เหมือนกันว่า ""นี้เป็นเบื้องต้นแห่งอักษรเหล่า"
|
|
34,0049,016,"นี้, นี้เป็นที่สุด."""
|
|
34,0049,017,บทว่า <B>มหาปญฺโ</B> ความว่า ท่านผู้มีสรีระตั้งอยู่ในที่สุดนั่น
|
|
34,0049,018,พระศาสดาตรัสเรียกว่า ผู้มีปัญญามาก เพราะความเป็นผู้ประกอบ
|
|
34,0049,019,ด้วยปัญญา อันกำหนดถือเอาซึ่งอรรถ ธรรม นิรุตติ และปฏิภาณ
|
|
34,0049,020,และศีลขันธ์เป็นต้น อันใหญ่ และตรัสเรียกว่าเป็นมหาบุรุษ เพราะ
|
|
34,0049,021,
|
|
34,0049,022,๑. เทโห กายที่สั่งสมขึ้นแห่งกุสลากุสล ทิห ธาตุ ในความสั่งสม ณ ปัจจัย. อภิ.
|
|
34,0049,023,หน้า ๕๒๕.
|
|
|