|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0004,001,ดังตัวอย่างนี้ เราจะเห็นได้แล้วว่า คำว่า ทานํ คำเดียว อาจ
|
|
11,0004,002,แปลความหมายได้หลายนัย ดังแสดงมาฉะนี้.
|
|
11,0004,003,ศัพท์ที่ปัจจัยปรุงแต่งเป็นกิริยากิตก์
|
|
11,0004,004,ศัพท์ต่าง ๆ ที่ปัจจัยในกิตก์ปรุงให้สำเร็จรูปเป็นกิริยาศัพท์แล้ว
|
|
11,0004,005,กิริยาศัพท์นั้น ๆ ก็ย่อมมีความหมายแตกต่างกันออกไปตามปัจจัยนั้นๆ
|
|
11,0004,006,เช่นเดียวกับศัพท์ที่ปัจจัยปรุงให้สำเร็จรูปเป็นนามศัพท์ ในส่วนกิริยา
|
|
11,0004,007,"ศัพท์นี้ ดังที่ทานยกคำว่า <B>""ทำ""</B> ขึ้นมาเป็นอุทาหรณ์ ย่อมอาจหมาย"
|
|
11,0004,008,ความไปได้ต่าง ๆ ด้วยอำนาจปัจจัย ดังจะแสดงให้เห็นต่อไป คำว่า
|
|
11,0004,009,"<B>"" ทำ "" </B> ออกมาจากศัพท์ธาตุ <B>""กรฺ""</B> ถ้าใช้เป็นศัพท์บอกผู้ทำ ก็"
|
|
11,0004,010,"เป็นกัตตุวาจก, บอกสิ่งที่เขาทำ ก็เป็นกัมมวาจก, บอกอาการที่ทำ ก็"
|
|
11,0004,011,เป็นภาววาจก (ไม่กล่าวถึงกัตตา และ กัมม). บอกผู้ใช้ให้ทำ ก็เป็น
|
|
11,0004,012,"เหตุกัตตุวาจก, บอกสิ่งที่เขาใช้ให้ทำ ก็เป็นเหตุกัมมวาจก."
|
|
11,0004,013,๑. บอกผู้ทำที่เป็นกัตตุวาจกนั้น คือเมื่อนำปัจจัยปรุงธาตุแผนก
|
|
11,0004,014,กัตตุวาจกมาประกอบเข้า เช่น อนฺต หรือ มาน ปัจจัยเป็นต้น ก็ได้รูป
|
|
11,0004,015,"เป็นกัตตุวาจก เช่น กรฺ ธาตุ ลง อนฺต ปัจจัย ได้รูปเป็น <B>กโรนฺโต,"
|
|
11,0004,016,"กโรนฺตา, กโรนฺตํ.</B> แปลว่า ""ทำอยู่ เมื่อทำ "" ตามรูปลิงค์ของตัว"
|
|
11,0004,017,ประธาน เมื่อต้องการจะแต่งให้เป็นประโยคตามในแบบ ก็ต้องหาตัว
|
|
11,0004,018,"กัตตาผู้ทำ ในที่นี้บ่งถึงนายช่าง ก็ต้องใช้ศัพท์ว่า <B>""วฑฺฒกี""</B> ตัว"
|
|
11,0004,019,"กรรมบ่งถึงเรือน ก็ต้องให้คำว่า <B>"" ฆรํ""</B> ตัวคุณนามที่เพิ่มเข้ามาแสดง"
|
|
11,0004,020,"ถึงอาการที่นายช่างทำ คือ งามจริง ก็ใช้คำว่า <B>""อติวิยโสภํ""</B> ซึ่ง"
|
|
11,0004,021,แสดงความวิเศษของการกระทำว่า ทำได้งามจริง ท่านเรียกว่ากิริยา-
|
|
|