buddhist-theology / 42 /420012.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
3.71 kB
Book,Page,LineNumber,Text
42,0012,001,"ความแห่งธรรมที่ทรงไว้แล้ว, เมื่อเขาพิจารณาเนื้อความอยู่, ธรรม "
42,0012,002,"ทั้งหลายย่อมทนซึ่งความเพ่งพินิจ, เมื่อความทนซึ่งความเพ่งพินิจ "
42,0012,003,"แห่งธรรม มีอยู่, ความพอใจย่อมเกิด, เขาเกิดความพอใจแล้ว"
42,0012,004,"ย่อมอุตสาหะ, ครั้นอุตสาหะแล้ว ย่อมไตร่ตรอง, ครั้นไตร่ตรอง"
42,0012,005,"แล้ว ย่อมตั้งความเพียร, เขาเป็นผู้มีตนตั้งความเพียรแล้ว ย่อม"
42,0012,006,ทำปรมัตถสัจให้แจ้งด้วยกาย และย่อมเห็น (แจ้ง) แทงตลอด
42,0012,007,"ปรมัตถสัจนั้นด้วยปัญญา."""
42,0012,008,บาลีในจังกีสูตร<SUP>๑</SUP> ปัญจมวรค มัชฌิมปัณณาสก์.
42,0012,009,"[๑๒๔] อรรถกถา<SUP>๒</SUP>แห่งจังกีสูตรนั้นว่า "" บทว่า <B>ปยิรุปาสติ</B>"
42,0012,010,คือนั่งในสำนัก. บทว่า <B>โสตํ</B> ได้แก่โสตประสาท. บทว่า <B>ธมฺมํ</B>
42,0012,011,หมายเอาเทศนาธรรม. บทว่า <B>ธาเรติ</B> ได้แก่ทรงจำทำให้ชำนาญ.
42,0012,012,บทว่า <B>อุปปริกฺขติ</B> ความว่า ย่อมพิจารณาโดยอรรถและโดยการณ์.
42,0012,013,"บทว่า <B>นิชฺฌานํ</B> คือย่อมทนซึ่งความสอดส่อง, อธิบายว่า ธรรม"
42,0012,014,"ทั้งหลายย่อมปรากฏอย่างนี้ว่า ""ศีลอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้แล้ว"
42,0012,015,"ในที่นี้ สมาธิอันพระองค์ตรัสไว้แล้วในที่นี้"" ดังนี้เป็นต้น. ความ"
42,0012,016,พอใจ คือความเป็นผู้ใคร่จะทำ ชื่อว่าความพอใจ. บทว่า <B>อุสฺสหติ</B>
42,0012,017,คือย่อมพยายาม. บทว่า <B>ตุลยติ</B> คือย่อมพิจารณาด้วยอำนาจ
42,0012,018,ไตรลักษณ์มีอนิจจลักษณะเป็นต้น. บทว่า <B>ปทหติ</B> คือ ย่อมเริ่มตั้ง
42,0012,019,ความเพียรอันนับเข้าในมรรค. คำว่า----<B>กาเยน เจว ปรมตฺถสจฺจํ</B>
42,0012,020,ความว่า ทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ด้วยสหชาตนามกาย และชำแรก
42,0012,021,
42,0012,022,๑. ม. ม. ๑๓/๖๐๕. ๒. ป. สู. ๓/๓๙๑.