|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0237,001,อนุกกัฑฒนัตถนิบาต
|
|
05,0237,002,๓. การชักเอาความท่อนต้นมาพูดในความท่อนหลังอีก เรียกว่า
|
|
05,0237,003,อนุกฺกฑฺฒนํ. ในอรรถนี้ ใช้นิบาตคือ จ เป็นพื้น เรียกชื่อว่า
|
|
05,0237,004,"อนุกฺกฑฺฒนตฺโถ, ตรงต่อนิบาตไทยว่า ด้วย, ซึ่งใช้ข้างท้ายความ"
|
|
05,0237,005,"ท่อนหลังอย่างเดียว, มีอุทาหรณ์อย่างนี้: สโร โข ปโร, ปุพฺเพ"
|
|
05,0237,006,"สเร ลุตฺเต, กฺวจิ ทีฆํ ปปฺโปติ. (นี้ความท่อนต้น) ปุพฺโพ จ"
|
|
05,0237,007,"สโร, ปรโลเป กเต, กฺวจิ ทีฆํ ปปฺโปติ. อนุกกัฑฒนะนี้ แปลก"
|
|
05,0237,008,จากสัมปิณฑนะ ด้วยมีกิริยาอย่างเดียวกันกับความท่อนต้น.
|
|
05,0237,009,วิกัปปัตถนิบาต
|
|
05,0237,010,๔. การแยกพากย์ก็ดี บทก็ดี ที่รวมกันอยู่ออก คือเอาแต่
|
|
05,0237,011,อย่างเดียว เรียกว่า วิกปฺโป. วิกัปปะนี้ จัดเป็น ๒ อย่าง คือ การ
|
|
05,0237,012,"แยกพากย์ เรียกว่า วากฺยวิกปฺโป, การแยกบท เรียก ปทวิกปฺโป,"
|
|
05,0237,013,ในอรรถนี้ ใช้นิบาตคือ วา เป็นพื้น เรียกชื่อว่า วิกปฺปตฺโถ ตรง
|
|
05,0237,014,"ต่อนิบาตไทย ที่ใช้ระหว่างพากย์หรือบทว่า หรือ, ที่ใช้ข้างท้าย"
|
|
05,0237,015,"พากย์หรือบทว่า บ้าง, ก็ดี, ก็ตาม; มีอุทาหรณ์วากยวิกัปปะดังนี้:"
|
|
05,0237,016,มนสา เจ ปทุฏเน ภาสติ <B>วา</B> กโรติ <B>วา.</B> ปทวิกัปปะ ดังนี้: ยมฺปทํ
|
|
05,0237,017,จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ <B>วา</B> ทุกฺขํ <B>วา</B> อทุกฺขม-
|
|
05,0237,018,สุขํ วา ตมฺปิ อนิจฺจํ. ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ
|
|
05,0237,019,โหติ---- รูปารมฺมณํ <B>วา</B>---- โผฏฺพฺพารมฺมณํ <B>วา</B>. ในอรรถนี้ ใช้
|
|
|