|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0215,001,วากยสัมพันธ์
|
|
05,0215,002,ภาคที่ ๓
|
|
05,0215,003,(๑๔๗) นักเรียนได้ศึกษาวจีวิภาค รู้จักส่วนแห่งคำพูดแล้ว
|
|
05,0215,004,ควรศึกษาให้รู้จักวิธีประกอบคำพูดเข้าเป็นพากย์ เพื่อเป็นประโยชน์
|
|
05,0215,005,ในการพูดหรือแต่งหนังสือซึ่งแสดงความให้ผู้อื่นเข้าใจ เหมือนนาย
|
|
05,0215,006,ช่างผู้ฉลาด รู้จักปรุงทัพพสัมภาระให้เป็นเรือน เพื่อเป็นประโยชน์แก่
|
|
05,0215,007,ผู้จะอยู่ ฉะนั้น วิธีประกอบคำพูดเข้าเป็นพากย์นั้น เรียกว่า
|
|
05,0215,008,วากยสัมพันธ์.
|
|
05,0215,009,(๑๔๘) คำพูดนั้นแบ่งเป็น ๓ อย่าง ดังนี้ :-
|
|
05,0215,010,๑. ศัพท์เดียวหรือหลายศัพท์ แต่ยังผสมให้เป็นใจความไม่ได้
|
|
05,0215,011,เรียกว่า บท กำหนดตามวิภัตตินาม จะกี่ศัพท์ก็ตาม นับวิภัตติ
|
|
05,0215,012,ละบท ๆ เช่น ปุตฺโต เป็นบทหนึ่ง มาตาปิตเรสุ เป็นบทหนึ่ง เป็น
|
|
05,0215,013,ตัวอย่าง.
|
|
05,0215,014,๒. หลายบทผสมให้เป็นใจความได้ แต่ยังเป็นตอน ๆ ไม่เต็มที่
|
|
05,0215,015,"เรียกว่า พากยางค์ มี ๓ อย่าง คือ (นาม) กุลสฺส ปุตฺโต,"
|
|
05,0215,016,"(คุณ) ปิโย ปุตฺโต, (กิรยา) ปุตฺโต มตาปิตเรสุ สมฺสม"
|
|
05,0215,017,ปฏิปชฺชนฺโต เป็นตัวอย่าง. ตอนหนึ่ง ๆ นับเป็นพากยางค์หนึ่ง ๆ.
|
|
05,0215,018,๓. หลายบทหรือหลายพากยางค์ ผสมให้เป็นใจความได้เต็มที่
|
|
|