File size: 3,319 Bytes
6bd72a3
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
Book,Page,LineNumber,Text
42,0003,001,กถาว่าด้วยพาหุสัจจะ   
42,0003,002,[๑๑๖]   ความเป็นผู้มีสุตะมาก   ชื่อพาหุสัจจะ.   โดยอรรถ
42,0003,003,พาหุสัจจะ  ได้แก่ความเป็นผู้ฉลาดในกิจนั้น  ๆ  อันเกิดขึ้นเพราะเรียน
42,0003,004,บ้าง  เพราะฟังบ้าง  ซึ่งพระพุทธวจนะหรือศิลปะภายนอก   (พระ
42,0003,005,พุทธศาสนา)   ยกความเป็นผู้ฉลาดในหัตถกรรม   ที่พระผู้มีพระภาค
42,0003,006,ทรงถือเอาด้วยสิปปศัพท์อันจะตรัส  (ข้างหน้า)  เสีย.   พาหุสัจจะนั้น
42,0003,007,มี  ๒ อย่าง  ด้วยสามารถพาหุสัจจะของบรรพชิตและคฤหัสถ์.  ใน  ๒
42,0003,008,อย่างนั้น  ความเป็นผู้ทรงจำคำสอนของพระศาสดา   ที่พระผู้มีพระ-
42,0003,009,ภาคทรงพรรณนาไว้ในอุรุเวลสูตรเป็นต้น   โดยนัยเป็นอาทิอย่างนี้ว่า
42,0003,010,"""ภิกษุเป็นพหุสูต   ทรงสุตะ   มีสุตะเป็นที่สั่งสม  ""   ดังนี้   ชื่อว่าพาหุสัจจะ"
42,0003,011,ของบรรพชิต.
42,0003,012,อุรุเวล<SUP>๑</SUP>สูตร  มาในปฐมปัณณาสก์   แห่งจตุกกนิบาต   อังคุตตร-
42,0003,013,นิกาย.
42,0003,014,"[๑๑๗]  อรรถกถาแห่งอุรุเวลสูตร<SUP>๒</SUP>นั้นว่า  ""สุตะ   คือนวังค-"
42,0003,015,สัตถุศาสน์ของภิกษุนั้นมาก  อธิบายว่า   เป็นอันเธอเรียนแล้ว   ด้วย
42,0003,016,สามารถอักขระเบื้องต้นและเบื้องปลายแห่งบาลีและอนุสนธิ.  ภิกษุนั้น
42,0003,017,ชื่อว่า  พหุสสุตะ.  บทว่า  <B>สุตธโร</B>  คือเป็นผู้รองรับสุตะไว้ได้.  จริงอยู่
42,0003,018,พระพุทธวจนะอันภิกษุใดเรียนแต่บาลีประเทศนี้   เลือนหายไปจาก
42,0003,019,บาลีประเทศนี้  ไม่คงอยู่  ดุจน้ำในหม้อทะลุ   เธอ   ไม่อาจจะกล่าว
42,0003,020,
42,0003,021,๑.  องฺ. จตุกฺก   ๒๑/๒๕.   ๒.  มโนรถปูรณี.  ๒/๓๔๗.