File size: 3,927 Bytes
6bd72a3
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
Book,Page,LineNumber,Text
11,0005,001,วิเสสนะ เมื่อประกอบให้เป็นประโยคก็ต้องว่า <B>วฑฺฒกี  อติวิยโสภํ  ฆรํ
11,0005,002,กโรนฺโต</B>  นายช่าง ทำอยู่  ซึ่งเรือน  งามจริง นี้เป็นรูปกัตตุวาจก
11,0005,003,เพราะยกผู้ทำขึ้นเป็นประธาน  คือบอกผู้ทำนั่นเอง.  
11,0005,004,๒. บอกสิ่งที่เขาทำ  เป็นกัมมวาจก  เมื่อจะให้เป็นรูปนี้  ก็นำ
11,0005,005,ปัจจัยที่ปรุงกิริยาศัพท์ให้เป็นกัมมวาจามาประกอบ  เช่น   ต อนีย  ตพฺพ
11,0005,006,ปัจจัยเป็นต้น เช่น กรฺ  ธาตุ นำ ต  ปัจจัย มาประกอบก็ได้รูปเป็น
11,0005,007,"<B>กโต,  กตา, กตํ. </B> ตามรูปลิงค์ของนามศัพท์ที่เป็นประธานในประโยค"
11,0005,008,"ในที่นี้ยกคำว่า  <B>""เรือนนี้นายช่างทำงามจริง""</B> ขึ้นเป็นอุทาหรณ์ ถ้า"
11,0005,009,จะประกอบให้เป็นประโยคก็ต้องว่า <B>อิทํ  ฆรํ  วฑฺฒกิยา  อติวิยโสภํ
11,0005,010,กตํ.</B>  เรือนนี้ อันนายช่าง ทำแล้ว  งามจริง นี้เป็นรูปกัมมวาจก  เพราะ
11,0005,011,"ยกคำว่า<B> "" ฆรํ""</B> (เรือน) ขึ้นเป็นประธาน คือบอกสิ่งที่เขาทำนั่นเอง."
11,0005,012,๓.  บอกแต่อาการที่ทำ  ไม่ยกกัตตา (ผู้ทำ)  ซึ่งเป็นตัวประธาน
11,0005,013,และกรรม (ผู้ถูกทำ)  ขึ้นพูด กล่าวขึ้นมาลอย  ๆ เมื่อจะให้เป็นรูปนี้
11,0005,014,ก็นำปัจจัยที่ปรุงกิริยาศัพท์ให้เป็นภาววาจก  มี ตพฺพ  ปัจจัยเป็นต้นมา
11,0005,015,ประกอบ  เช่น ภู ธาตุ นำ  ตพฺพ  ปัจจัยมาประกอบ  ก็ได้รูปเป็น
11,0005,016,<B>ภวิตพฺพํ</B>  (พฤทธิ์  อู ที่ ภู เป็น โอ  แล้วเอาเป็น อว ลง อิ อาคม
11,0005,017,ภาววาจกนี้ใช้เป็นรูปนปุํสกลิงค์เสมอไป )  ประกอบให้เป็นประโยคเช่น
11,0005,018,<B>การเณเนตฺถ  </B>(การเณน+เอตฺถ)  <B>ภวิตพฺพํ</B>. อันเหตุ ในสิ่งนั้น  พึงมี.
11,0005,019,ในที่นี้  การที่มิได้ยก กรฺ  ธาตุเป็นตัวอย่าง  ก็เพราะ กรฺ  ธาตุ
11,0005,020,เป็นธาตุมีกรรมจะใช้ในภาววาจกไม่เหมาะ  จึงได้ยกเอา  ภู ธาตุซึ่งเป็น
11,0005,021,ธาตุไม่มีกรรมขึ้นมาเป็นอุทาหรณ์แทน.