Book,Page,LineNumber,Text
12,0004,001,คำพูดในวากยสัมพันธ์
12,0004,002,(๑๔๘) คำพูดนั้น แบ่งเป็น ๓ อย่าง ดังนี้ :-
12,0004,003,บท
12,0004,004,๑. ศัพท์เดียวหรือหลายศัพท์ แต่ยังผสมให้เป็นใจความ
12,0004,005,ไม่ได้ เรียกว่า บท กำหนดตามวิภัตตินาม จะกี่ศัพท์ก็ตาม
12,0004,006,นับวิภัตติละบท ๆ เช่น ปุตฺโต เป็นบทหนึ่ง มาตาปิตเรสุ
12,0004,007,เป็นบทหนึ่ง เป็นตัวอย่าง.
12,0004,008,อธิบาย [๑] คำว่า บท กำหนดตามวิภัตตินามนั้น คือคำ
12,0004,009,พูดที่แบ่งไว้ในวจีวิภาค นับแต่ที่แจกด้วยวิภัตตินาได้คือ นาม
12,0004,010,สมาส ตัทธิต และกิตต์ เรียกว่า บท ในเมื่อแจกด้วยวิภัตติแล้ว
12,0004,011,และกำหนดนับวิภัตติละบท ๆ คือคำพูดที่กล่าวมานั้น ศัพท์เดียว
12,0004,012,หรือกี่ศัพท์ก็ตาม นับว่าบทหนึ่ง ๆ ด้วยสังเกตวิภัตตินามเป็นหลัก.
12,0004,013,ศัพท์เดียวมีวิภัตตินามเดียว ก็นับเป็นบทเดียว. หลายศัพท์แต่มี
12,0004,014,วิภัตตินามเดียว ก็นับเป็นเพียงบทเดียว. อุ. ศัพท์เดียวเป็นบทเดียว
12,0004,015,ปพฺพโต [ นาม ] นาวิโก [ ตัทธิต ] ทายโก [ นามกิตต์ ] กโรนฺโต
12,0004,016,"[ กิริยากิตก์ ], หลายศัพท์เป็นบทเดียว : ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก"
12,0004,017,[ สมาส ] ธมฺมจารี [ นามกิตก์ ].
12,0004,018,หลายศัพท์เป็นบทเดียว ได้แก่บทสมาสทั้งปวง และบทนาม-
12,0004,019,กิตก์ที่มีนามนามนำหน้า เช่น ธมฺมจารี. ส่วนบททั้งปวงที่มีอุปสัค-
12,0004,020,"นิบาตหรือศัพท์อื่น ๆ อันใช้ดุจสัคนิบาตนำหน้า อุ. ปฏิญฺา,"
12,0004,021,"อนุภวนฺโต, สยมฺภู, อนฺตรหิโต, สจฺฉิกโรนฺโต, นับเป็น"