Book,Page,LineNumber,Text 42,0011,001,"(ด้วยอรหัตตมรรค)."" " 42,0011,002,อรรถกถาแห่งอธิปเตยยสูตร จตุตถวรรคปฐมปัณณาสก์ ใน 42,0011,003,"ติกนิบาต อังคุตตรนิกา ว่า ""อธิบายว่า 'ภิกษุย่อมบริหาร " 42,0011,004,คือปฏิบัติ คุ้มครองตน ทำให้หมดจดคือให้หมดมลทิน. ก็ภิกษุนี้ 42,0011,005,บริหารตนให้หมดจดอยู่ด้วยอรหัตตมรรค ชื่อว่าบริหารตนให้หมดจด 42,0011,006,"โดยปริยา, ส่วนท่านผู้บรรลุผลแล้ว จึงชื่อว่าบริหารตนให้หมดจด" 42,0011,007,"โดยนิปปริยาย.""" 42,0011,008,"ฎีกาแห่งอธิปเตยยสูตรนั้นว่า ""สองบทว่า นิมฺมลํ กตฺวา" 42,0011,009,ความว่า ทำให้ปราศจากมลทิน เพราะพรากเสียซึ่งมลทิน มีราคะ 42,0011,010,เป็นต้น. บทว่า โคปยติ คือย่อมรักษาจากอนัตถะ คือสังกิเลส. 42,0011,011,บทว่า อยํ เป็นต้น ความว่า ภิกษุผู้ปฏิบัติได้อย่างนี้ ชื่อว่าบริหาร 42,0011,012,"ตนให้หมดจด เพราะไม่มีแม้แห่งกิเลสอันเป็นเหตุไม่บริสุทธิ์.""" 42,0011,013,ท่านมิได้พรรณนาถ้อยคำอะไร ๆ ไว้ ในอรรถกถาและฎีกาแห่ง 42,0011,014,นคโรปมสูตรเลย เพราะท่านพรรณนาไว้แล้วในเบื้องต้นอย่างนี้. 42,0011,015,[๑๒๓] อนึ่ง พาหุสัจจะ ชื่อว่าเป็นมงคล แม้เพราะเป็นเหตุ 42,0011,016,แห่งการทำให้แจ้งซึ่งปรมัตถสัจโดยลำดับ. สมดังคำที่พระผู้มีพระ 42,0011,017,ภาค เมื่อจะทรงแสดงธรรมแก่พราหมณ์ชื่อภารทวาชะ ตรัสไว้ว่า 42,0011,018,"""กุลบุตรผู้เกิดศรัทธาแล้ว ย่อมเข้าไปหา (บัณฑิต), ครั้นเข้าไปหา" 42,0011,019,"แล้ว ย่อมนั่งใกล้, เมื่อนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสต, เงี่ยโสตแล้ว ย่อม" 42,0011,020,"สดับธรรม, ครั้งสดับแล้ว ย่อมทรางธรรมไว้, ย่อมพิจารณาเนื้อ" 42,0011,021, 42,0011,022,๑. มโน. ป. ๒/๑๖๙