Book,Page,LineNumber,Text 14,0010,001,[ พยัญชนะสังโยค] 14,0010,002,ถ. พยัญชนะเช่นไรเรียกว่าพยัญชนะสังโยค จงอธิบายถึงวิธี 14,0010,003,ที่อาจเป็นได้เพียงไร ? 14,0010,004,ต. พยัญชนะที่ซ้อนกันเรียกว่าพยัญชนะสังโยค วิธีที่อาจเป็นได้ 14,0010,005,นั้นดังนี้ คือ พยัญชนะที่ ๑ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๑และ ที่ ๒ ในวรรค 14,0010,006,"ของตนได้, พยัญชนะที่ ๓ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๓ และที่ ๔ ในวรรค" 14,0010,007,"ของตนได้, พยัญชนะที่สุดวรรค ซ้อนหน้าพยัญชนะในวรรคของตน" 14,0010,008,ได้ทั้ง ๕ ตัว เว้นแต่ตัว ง ซึ่งเป็นตัวสะกดอย่างเดียว ซ้อนหน้าตัวเอง 14,0010,009,"ไม่ได้, ย ล ส ซ้อนหน้าตัวเองได้, นอกจากนี้ยังมีอีก แต่ท่านมิได้" 14,0010,010,วางระเบียบไว้แน่นอน. [ ๒๔๗๗]. 14,0010,011,ถ. ลักษณะที่ประกอบพยัญชนะซ้อนกันได้นั้น เป็นอย่างไร ? 14,0010,012,พยัญชนะสนธิ เหตุใดจึงได้สนธิกิริโยปกรณ์แต่เพียง ๕ ? และเหตุใด 14,0010,013,สระสนธิจึงมีสนธิกิริยาปกรณ์ขาดไป ๑ ? 14,0010,014,ต. ลักษณะที่จะประกอบพยัญชนะซ้อนกันได้นั้น ดังนี้ ใน 14,0010,015,พยัญชนะวรรคทั้งหลาย พยัญชนะที่ ๑ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๑ และ 14,0010,016,"ที่ ๒ ในวรรคของตนได้, พยัญชนะที่ ๓ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๓ และ" 14,0010,017,"ที่ ๔ ในวรรคของตนได้, พยัญชนะที่ ๕ สุดวรรคซ้อนหน้าพยัญชนะใน" 14,0010,018,วรรคของตนได้ทั้ง ๕ ตัว ยกเสียแต่ตัว ง. ซึ่งเป็นตัวสะกดอย่างเดียว 14,0010,019,มิได้สำเนียงในภาษาบาลี ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้. พยัญชนะวรรคที่ 14,0010,020,ซ้อนกันดังนี้ก็ดี ตัว ย ล ส ซ้อนกัน ๒ ตัวก็ดี ไม่มีสระคั่น พยัญชนะ 14,0010,021,ตัวหน้าเป็นตัวสะกดของสระที่อยู่หน้าตน ไม่ออกเสียงผสมด้วย