Book,Page,LineNumber,Text 11,0003,001,ให้เห็นว่า ผู้ให้ ๆ ด้วยอาการอย่างไร เป็นต้นว่าอาการชื่นชมยินดี 11,0003,002,"อาการหยิบยกให้ เช่นนี้ต้องแปลเป็นภาวสาธนะว่า "" ความให้ การ" 11,0003,003,"ให้"" แยกรูปออกตั้งวิเคราะห์ว่า ทิยฺยเตติ ทานํ. (เตน อันเขา)" 11,0003,004,ย่อให้ เหตุนั้น ชื่อว่า ทานํ. (การให้) รูปนี้ไม่ต้องมีตัวประธาน 11,0003,005,เพราะเป็นรูปภาววาจก. เช่นในคำว่า สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ. 11,0003,006,การให้ธรรมย่อมชนะการให้ทั้งปวง. 11,0003,007,๓. ถ้าเป็นชื่อของเจตนา คือเพ่งถึงความคิดก่อน หรือความจง 11,0003,008,ใจให้ทาน หมายความว่าเขาให้ด้วยเจตนาใด เจตนานั้นได้ชื่อว่า เป็น 11,0003,009,เหตุให้เขาสละสิ่งของ คือยกเจตนาขึ้นพูดเป็นตัวตั้ง เช่นนี้ต้องแปล 11,0003,010,"เป็นรูปกรณสาธนะว่า ""เจตนาเป็นเหตุให้แห่งชน"" แยกรูปออก" 11,0003,011,ตั้งวิเคราะห์ว่า เทติ เตนาติ ทานํ. (ชโน ชน) ย่อมให้ ด้วย 11,0003,012,เจตนากรรมนั้น เหตุนั้น (ตํ เจตนากมฺมํ เจตนากรรมนั้น ) ชื่อว่า 11,0003,013,ทานํ (เจตนากรรมเป็นเหตุให้แห่งชน). เช่นในคำว่า ทานเจตนา 11,0003,014,เจตนาเป็นเครื่องให้. 11,0003,015,๔. เป็นชื่อของสถานที่ คือเพ่งถึงที่ ๆ เขาให้ มีโรง เรือน 11,0003,016,ศาลา หรือ บ้าน เป็นต้น หมายความว่า เขาให้ในสถานที่ใด สถานที่ 11,0003,017,นั้นได้ชื่อว่า เป็นที่ให้ของเขา คือยกสถานที่ขึ้นพูดเป็นตัวตั้ง เช่นนี้ 11,0003,018,"ต้องแปลเป็นรูปอธิกรณสาธนะว่า ""ที่เป็นที่ให้แห่งชน"" แยกรูป" 11,0003,019,ออกตั้งวิเคราะห์ว่า เทติ เอตฺถาติ ทานํ. (ชโน ชน) ย่อมให้ใน 11,0003,020,ที่นั่น เหตุนั้น (เอตํ €านํ ที่นั่น) ชื่อว่า ทานํ(ที่เป็นที่ให้แห่งชน). 11,0003,021,เช่นในคำว่า ทานสาลา โรงเป็นที่ให้ (โรงทาน)