Book,Page,LineNumber,Text 12,0005,001,บทเดียว. 12,0005,002,บทอลุตตสมาส แม้จะมีหลายวิภัตติ เพราะเข้าสมาสโดยวิธี 12,0005,003,ไม่ลงวิภัตติ ก็นับเป็นบทเดียว เพราะเข้าสมาสแล้ว ไม่แยกใช้เป็น 12,0005,004,"หลายลท วิภัตติข้างหน้า ถึงไม่ลบ ก็เท่ากับลบ อุ. อุรสิโลโม," 12,0005,005,"มนสิกาโร, ตโยชนวตฺถุ. " 12,0005,006,[๒] ศัพท์กิริยาอาขยาตที่ประกอบวิภัตติอาขยาตแล้ว ก็เรียก 12,0005,007,"ว่า บท เหมือนกัน อุ. กโรติ, อาหํสุ. บทที่มีอุปสัคนิบาตหรือศัพท์" 12,0005,008,"อันใช้ดุจอุปสัคนิบาตนำหน้า ก็เป็นบทเดียว อุ. สญฺชานาติ," 12,0005,009,"อนฺตรธานิ, สจฺฉิกโรต, ปาตุรโหสิ. แม้บทกิริยากิตก์ที่ลง อัพยย-" 12,0005,010,ปัจจัย อันจะกล่าวในข้อต่อไป เช่น สฺฉิกตฺวา ก็ดุจเดียวกัน. 12,0005,011,"[๓] ศัพท์ที่ลง อัพยยปัจจัย เช่น เอกโต, เอกธา, สพฺพทา," 12,0005,012,"สพฺพตฺถ, กาตุํ, สจฺฉิกตฺวา. เว้นที่ใช้เป็นนิบาต เช่น ยถา ตถา" 12,0005,013,เรียกว่า บท โดยอนุโลม. 12,0005,014,"[๔] ส่วนศัพท์นิบาต เรียกว่า ศัพท์ ทั้งหมด อุ. พหิทฺธา," 12,0005,015,"ปาโต, สายํ." 12,0005,016,[๕] ศัพท์ต่อไปนี้ ก็เรียกว่าศัพท์ คือ :- 12,0005,017,๑] ศัพท์ที่แจกด้วยวิภัตตินามได้ แต่ยังได้แจกหรือแจกแล้ว 12,0005,018,"แต่ถอดวิภัตตินามออก อุ. ปพฺพต, นาวิก." 12,0005,019,๒] ศัพท์อุปสัค. 12,0005,020,ในการผูกประโยค ย่อมใช้ศัพท์ที่แจกวิภัตติแล้ว ไม่ได้ใช้ 12,0005,021,ศัพท์ที่ยังไม่แจก และอุปสัคก็ใช้นำหน้านามหรือกิริยา ไม่ใช้แต่ลำพัง.