Book,Page,LineNumber,Text
11,0015,001,สยนํ ตั้ง วิ. ว่า สยนํ สยนํ. ความนอน ชื่อว่า สยนํ (ความนอน).
11,0015,002,รูปวิเคราะห์ที่ใช้เป็นกิริยากิตก์ ก็ใช้ประกอบปัจจัยที่เป็นภาว-
11,0015,003,วาจก เช่น คมนํ ประกอบ ตพฺพ ตั้ง วิ. ว่า คนฺคพฺพน-ติ คมนํ.
11,0015,004,(เตน อันเขา) พึงไป เหตุนั้น ชื่อว่า คมนํ (ความไป).
11,0015,005,านํ ตั้ง วิ. ว่า าตพฺพนฺ-ติ านํ (เตน อันเขา) พึงยิน
11,0015,006,เหตุนั้น ชื่อว่า านํ (ความยืน).
11,0015,007,สยนํ ตั้ง วิ. ว่า นิสีทิตพฺพนฺ-ติ นิสชฺชา-(เตน อันเขา)
11,0015,008,พึงนั่ง เหตุนั้น ชื่อว่า นิสชฺชา (ความนั่ง).
11,0015,009,สยนํ ตั้ง วิ. ว่า สยิตพฺพนฺ-ติ สยนํ (เตน อันเขา) พึงนอน
11,0015,010,เหตุนั้น ชื่อว่า สยนํ (ความนอน).
11,0015,011,รูปวิเคราะห์ที่ใช้กิริยากิตก์นั้น มักใช้ประกอบกับ ตพฺพ ปัจจัยเป็น
11,0015,012,พื้น รูปอื่นไม่มีใช้. ในสาธนะนี้รูปและสาธนะลงเป็นอันเดียวกัน คือ
11,0015,013,รูปวิเคราะห์กับสาธนะต่างก็เป็นภาววาจก ท่านบัญญัติให้แปลว่า
11,0015,014,"""ความ""ก็ได้ ""การ"" ก็ได้ (เตน อันเขา) ที่เติมมาในรูปวิเคราะห์"
11,0015,015,ที่เป็นกิริยาอาขยาตและกิริยากิตก์ในเวลาแปลนั้น เพื่อให้ถูกต้องและ
11,0015,016,ครบตามรูปประโยค เพราะกิริยาภาววาจกจะขาด กัตตา ที่เป็นตติยา-
11,0015,017,"วิภัตติ ซึ่งแปลว่า ""อัน"" หาได้ไม่."
11,0015,018,กรณสาธานะ
11,0015,019,สาธนะนี้ หมายถึงสิ่งที่เป็นเครื่องมือให้สำเร็จทำของบุคคล
11,0015,020,คำผู้ทำ ๆ ด้วยสิ่งใด ยกสิ่งนั้นขึ้นกล่าว เช่น ผูกด้วยเชือก ประหาร