Book,Page,LineNumber,Text 14,0003,001,ถ. อะไรเรียกว่าอักขระ พยัญชนะและนิคคหิต ? ในคำทั้ง ๓ 14,0003,002,นั้น คำไหนแปลว่ากระไร ? 14,0003,003,"ต. เสียงก็ดี ตัวหนังสือก็ดี เรียกว่าอักขระ, อักขระ แปลว่าไม่รู้" 14,0003,004,จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ อักขระที่เหลือจากสระ ๓๓ ตัว มี 14,0003,005,ก. เป็นต้น มีนิคคหิตเป็นที่สุด เรียกว่าพยัญชนะ. พยัญชนะ แปลว่า 14,0003,006,ทำเนื้อความให้ปรากฏ พยัญชนะ คือ ํ เรียกว่า นิคคหิต นิคคหิต 14,0003,007,แปลว่ากดสระหรือกรณ์. [ ๒๕๘๐]. 14,0003,008,ถ. อะไรเรียกว่านิสัย ? อะไรเรียกว่านิสสิต ? มีหน้าที่ต่าง 14,0003,009,กันอย่างไร ? 14,0003,010,"ต. สระ ๘ ตัวเรียกว่านิสัย. พยัญชนะ ๓๓ ตัวเรียกว่านิสสิต," 14,0003,011,นิสสัย มีหน้าที่ออกสำเนียง และเป็นที่อาศัยแห่งพยัญชนะ. นิสสิต 14,0003,012,มีหน้าที่ทำเนื้อความให้ปรากฏ แต่ต้องอาศัยสระ. [ ๒๔๖๔ ]. 14,0003,013,ถ. อักขระพวกไหนชื่อว่านิสสัย ? พวกไหนชื่อว่านิสสิต ? 14,0003,014,เพราะเหตุไร ? 14,0003,015,ต. อักขระ ๘ ตัวเบื้องต้นชื่อว่านิสสัย เพราะเป็นที่อาศัยของ 14,0003,016,"พยัญชนะ, ที่เหลือนอกนี้ชื่อว่านิสสิต เพราะต้องอาศัยสระ. [ ๒๔๖๘ ]." 14,0003,017,ถ. สระ ๘ ตัว ๆ ไหนเป็นรัสสะ ทีฆะ ? และตัวไหน จัดเป็น 14,0003,018,ครุ ลหุ? 14,0003,019,"ต. อ อิ อุ เป็นรัสสะ, อา อี อู เอ โอ เป็นทีฆะ, แต่ เอ เป็น โอ ๒" 14,0003,020,ตัวนี้ ถ้ามีพยัญชนะสังโยคซ้อนกันอยู่เบื้องหลัง ท่านจัดเป็นรัสสะ. 14,0003,021,สระที่เป็นทีฆะล้วน ๕ ตัว และที่เป็นรัสสะมีพยัญชนะสังโยคและ